มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับเพศชายมากกว่าเพศหญิง เมื่อตรวจเจอตั้งแต่เนิ่นๆ มีโอกาสที่จะรักษาให้หายได้ แต่มะเร็งกระเพาะอาหารนั้นมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้ง่าย ดังนั้นควรหมั่นตรวจเช็คอาการอย่างสม่ำเสมอจะได้รักษาได้ทันท่วงที
สาเหตุของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุที่แท้จริงของมะเร็งยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดมะเร็ง พอสรุปได้ดังนี้ คือ
- อายุ มะเร็งของไต กระเพาะปัสสาวะ มักพบในคนอายุมาก 50-70 ปี มะเร็ง ขององคชาติ พบในคนวัยกลางคนและมะเร็งอัณฑะพบในวัยหนุ่มฉกรรจ์
- มะเร็งของไต และกรวยไต เกิดร่วมกับการอักเสบเรื้อรังและนิ่วในไต จากการ กินยาแก้ปวดประเภทฟินาซีตินมากเกินไป
- มะเร็งของกระเพาะปัสสาวะเกิดบ่อยในคนที่สูบบุหรี่จัด คนที่ทำงานใน โรงงานอุตสาหกรมสีย้อมผ้า คนที่มีการอักเสบเรื้อรัง หรือเป็นนิ่วในกระเพาะ ปัสสาวะ
- อาหารที่มีไขมันมาก หรือสาเหตุทางพันธุกรรม อาจมีส่วนทำให้เกิดมะเร็ง ของต่อมลูกหมาก
- ลูกอัณฑะที่ไม่ลงมาในถุงอัณฑะ มีอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งสูง
- การเสียดสีเรื้อรัง ทำให้เกิดแผลไม่หายแล้วกลายเป็นมะเร็ง เช่น มะเร็งของ ถุงอัณฑะ
อาการของมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
- ปัสสาวะเป็นเลือด ลิ่มเลือด พบในมะเร็งกระเพาะปัสสาวะและมะร็งของไต
- ปัสสาวะขัด ต้องเบ่ง หรือปัสสาวะออกกระปริบกระปรอย พบในมะเร็ง ของต่อมลูกหมาก
- มีแผลเรื้อรังชนิดเลือดออกง่ายและกลิ่นเหม็น
- หนังหุ้มอวัยวะเพศหรือหนังหุ้มลึงค์ไม่เปิด และมีอาการคันภายในหรือมี เม็ดที่คลำได้
- บริเวณที่มีการเสียดสี มีการอักเสบไม่หาย เช่น มะเร็งถุงอัณฑะ
- มีก้อนคลำได้ชัดเจนบริเวณสีข้าง (บริเวณไต) หรือบริเวณท้องน้อยเหนือ หัวเหน่า (บริเวณกระเพาะปัสสาวะ)
- มีก้อนและคลำได้ที่ลูกอัณฑะ กดไม่เจ็บ และก้อนโตเร็ว
- ต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบหรือซอกคอโต พบในรายที่มะเร็งกระจายไป ยังต่อมน้ำเหลืองแล้ว
- เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผอมลง ไอ ปวดกระดูก พบในระยะที่มีการกระจาย ของมะเร็งไปแล้ว
การวินิจฉัย
- โดยการตรวจร่างกาย เอ็กซเรย์ หรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์
- โดยการคลำต่อมลูกหมากทางทวารหนัก
- โดยการส่องกล้องดูภายในกระเพาะปัสสาวะและต่อมลูกหมาก
- โดยการขลิบ หรือ ตัดชิ้นเนื้อเพื่อส่งพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา
การรักษามะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
การรักษาขึ้นอยู่กับระยะของโรค โดยทั่วไปแล้วการรักษาประกอบด้วย
- การผ่าตัด
– ผ่าตัดอวัยวะที่เป็นมะเร็งออกทั้งอันหรือบางส่วน เช่น ตัดไต อัณฑะข้างที่เป็น หรือตัดอวัยวะเพศออกทั้งหมดหรือบางส่วน
– ผ่าตัดโดยวิธีส่องกล้องใช้ไฟฟ้า เช่นในมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ต่อมลูกหมาก
– ตัดอัณฑะออกทั้ง 2 ข้าง หรือรับประทานฮอร์โมนเพศหญิง เช่น ในรายที่ เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก - เคมีบำบัด
– โดยการรับประทานหรือฉีดเข้าเส้นเลือด ส่วนการใช้ยาเข้าไปในกระเพาะ ปัสสาวะนั้น ใช้ในกรณีที่เป็นมะเร็งของกระเพาะปัสสาวะ - รังสีรักษา
- วิธีผสมผสาน ทั้งการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา
การป้องกัน
- รักษาความสะอาดอวัยวะเพศ ในกรณีหนังหุ้มลึงค์ไม่เปิด ควรผ่าตัดขลิบ หนัง เพื่อจะได้ทำความสะอาดได้ทั่วถึง เป็นการป้องกันมะเร็งขององคชาติ
- ลูกอัณฑะที่ไม่ลงในถุงอัณฑะ ควรรีบปรึกษาแพทย์
- หากมีก้อนเนื้อผิดปกติ หรือแผลเรื้อรังบริเวณอวัยวะเพศ ควรรีบรักษา
- หลีกเลี่ยงสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็งและมลภาวะที่เจือปนอยู่ในอาหาร น้ำ และอากาศ
- งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่จากผู้อื่น หรือบริโภคเนื้อสัตว์ที่ ไหม้เกรียม อาหารไขมันสูง
- บริโภคผักและผลไม้ที่มีกากหรือเส้นใยมาก ๆ
มะเร็งนั้นสามารถป้องกันไว้ตั้งตั้งแต่เนิ่นๆ ด้วยการรับประทานอาหารเสริมสมุนไพร CA ซึ่งสกัดจากสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งหลายสิบชนิดที่จะช่วยกระตุ้นการทำงาน ช่วยกระตุ้นการทำงานของภูมิคุ้มกัน (เซลล์เม็ดเลือดขาว) และสามารถขจัดสิ่งแปลกปลอมที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย หรือแม้แต่เซลล์มะเร็ง ทั้งยังช่วยดูแลร่างกายองค์รวมให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อให้คุณมีชีวิตอยู่กับคนที่รักได้อย่างยาวนานและมีความสุข CA อาหารเสริมสมุนไพรเพื่อผู้ป่วยมะเร็ง เพราะเราเชื่อว่า “มะเร็งมีทางออก”
ขอขอบคุณบทความจาก http://www.siamca.com/